วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บทที่1 (กิจกรรม1)                                                                                กลุ่มเรียนที่ 4
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน                                    รหัสวิชา 0026008
นายอลงกรณ์ ทุงจันทร์                                                       รหัสประจำตัวนิสิต 52010213138
จงเติมในช่องว่างว่าข้อใดเป็นข้อมูล หรือสารสนเทศ
1.ข้อมูลหมายถึง...........................................................................................
2.ข้อมูลปฐมภูมิคือ..........................ยกตัวอย่างประกอบ......................................
3.ข้อมูลทุติยภูมิคือ..........................ยกตัวอย่างประกอบ......................................
4.สารสนเทศหมายถึง......................................................................................
5.จงอธิบายประเภทของสารสนเทศ.....................................................................
6.ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป็นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียงคือ.............................
7.ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลป็น.........................................................................
8.ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคน.........................................................
9.ผลของการลงทะเบียนเป็น.............................................................................
10.กราฟแสดงจำนวนนิสิตในห้องเรียนวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
Sectionวันอังคารเป็น......................................................................................
1.ข้อมูล(data)หมายถึงอะไร
 
ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ที่มีอยู่ในรูปของตัวเลข ภาษา ภาพ สัญลักษณ์ต่างๆ ที่มีความหมายเฉพาะตัว ซึ่งยังไม่มีการประมวลไม่เกี่ยวกับการนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ไพโรจน์ คชชา, 2542) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2525) ให้ความหมายของ ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือ การคำนวณ

 2.ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ได้จากการเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสังเกต การทดลอง การทดสอบ ข้อมูลการเข้าชั้นเรียนของนักเรียนแต่ละภาคการศึกษา เป็นต้น
3.ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ได้จากการนำข้อมูลที่ผู้อื่นรวบรวมไว้ไว้อย่างเป็นระบบ มาใช้งานโดยไม่ต้องลงมือเก็บรวบรวมเอง เช่น สถิติจำนวนประชากรที่กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยรวบรวมและตีพิมพ์เผยแพร่ ซึ่งสามารถนำเอาไปประมวลผลต่อได้ เป็นต้น
ที่มา หนังสือ รายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.๑
4. สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความ อย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เช่น ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมหรือสัญญาณระบบต่างๆ การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบดาวเทียม การจองตั๋วเครื่องบิน การกดเงินจาก ATM เป็นต้น
ที่มา http://non-krittayot.blogspot.com/2008/05/blog-post_30.html

5.ประเภทของระบบสารสนเทศ
 ระบบสารสนเทศจำแนกตามโครงสร้างองค์การ (Classification by Organizational Structure)
การจำแนกประเภทนี้เป็นการจำแนกตามโครงสร้างขององค์การ ตั้งแต่ระดับหน่วยงานย่อยระดับองค์การทั้งหมด และระดับระหว่างองค์การ
สารสนเทศของหน่วยงานย่อย (Departmental information system)
หมายถึงระบบสารสนเทศที่ออกมาเพื่อใช้สำหรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งขององค์การ โดยแต่ละหน่วยงานอาจมีโปรแกรมประยุกต์ใช้งานใดงานหนึ่งของตนโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายบุคลากรอาจจะมีโปรแกรมสำหรับการคัดเลือกบุคคลหรือติดตามผลการโยกย้ายงาน ของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน โดยโปรแกรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องของฝ่ายบุคลากรจะมีชื่อว่าระบบสารสนเทศด้าน ทรัพยากรมนุษย์ (Human resources information systems)
ระบบสารสนเทศของทั้งองค์การ (Enterprise information systems)
หมายถึงระบบสารสนเทศของหน่วยงานที่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่ทั้งหมดภายใน องค์การ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือองค์การนั้นมีระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงทั้งองค์การ
ระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงระหว่างองค์การ (Interorganizational information systems-IOS)
เป็น ะบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์การอื่นๆ ภายนอกตั้งแต่ 2 องค์การขึ้นไป เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อสาร หรือการประสานงานร่วมมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการผ่านระบบ IOS จะช่วยทำให้การไหลของสารสนเทศระหว่างองค์การหรือทั้งซัพพลายเชน (Supply chain) เป็นไปโดยอัตโนมัติ เพื่อใช้ในการวางแผน ออกแบบ การพัฒนา การผลิต และการส่งสินค้าและบริการ
การจำแนกตามหน้าที่ขององค์การ (Classification by Functional Area)
การจำแนกระบบสารสนเทศประเภทนี้จะเป็นการสนับสนุนการทำงานตาหน้าที่หรือการทำกิจกรรมต่างๆ ขององค์การ (Turban et al.,2001) โดยทั่วไปองค์การมักใช้ระบบสารสนเทศในงานที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ต่างๆ เช่น
·        ระบบสารสนเทศด้านบัญชี (Accounting information system)
·        ระบบสารสนเทศด้านการเงิน (Finance information system)
·        ระบบสารสนเทศด้านการผลิต (Manufacturing information system)
·        ระบบสารสนเทศด้านการตลาด (Marketing information system)
·        ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resource management information system)
การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ (Classification by Support Provided)
การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น 3 ประเภทย่อย คือ ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (Transaction Processing Systems) ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ (Management Reporting Systems) และระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems)
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ (Management Reporting Systems)
เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการทำรายงานตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ และช่วยในการตัดสินใจที่มีลักษณะโครงสร้างชัดเจนและเป็นเรื่องที่ทราบล่วง หน้า
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems)
เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยผู้บริหารตัดสินใจเชิงกลยุทธ์มีความยืดหยุ่นสูงและมีลักษณะโต้ตอบได้ (interactive) โดยอาจมีการใช้โมเดลการตัดสินใจ หรือการใช้ฐานข้อมูลพิเศษช่วยในการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ(Transaction Processing Systems -TPS)
เป็น ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมหรือการ ปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง เมื่อใดก็ตามที่มีการทำธุรกรรมหรือปฏิบัติงานในลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่ เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นทันที เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือ ชื่อลูกค้า ประเภทของลูกค้า จำนวนและราคาของสินค้าที่ขายไป รวมทั้งวิธีการชำระเงินของลูกค้า
ที่มา http://www.bcoms.net/temp/lesson8.asp

 6. ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป็นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียงคือ ข้อมูล
 7. ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลป็น สารสนเทศ
 8. ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคนเป็นข้อมูลปฐมภูมิ
 9.ผลของการลงทะเบียนเป็นข้อมูลทุติยภูมิ
 10. กราฟแสดงจำนวนนิสิตในห้องเรียนวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวันSection
  วันอังคารเป็นข้อมูลตติยภูมิ
แบบฝีึกหัด
บทที่2 บทบาทสารสนเทศกับสังคม                                                                  กลุ่มเรียนที่ 4
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน                                    รหัสวิชา 0026008
นายอลงกรณ์ ทุงจันทร์                                                       รหัสประจำตัวนิสิต 52010213138
  1.ให้นิสิตหารายชื่อเว็ปไซต์หรือเทคโนโลยีที่ให้บริการต่างๆ ตามหัวข้อเหล่านี้มาอย่างละ 3 รายการ

1.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษา
http://forum.datatan.net/index.php/topic,126.msg126.html
http://www.csjoy.com/story/net/tne.htm
http://drpaitoon.com/


1.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน
http://www.thaigoodview.com/node/91221
http://forum.datatan.net/index.php/topic,126.msg126.html
http://www.prachyanun.com/artical/ict.html


1.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพการสื่อสารมวลชน
http://www.wangjom.com/newseducation/12428.html
http://www.bcoms.net/temp/lesson12.asp
http://www.siit.tu.ac.th/thai/it.html


1.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม
http://www.prachyanun.com/artical/ict.html
http://www.bankokyangschool.ac.th/learning-computer/212-information-technology.html
http://bunmamint18.blogspot.com/


1.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางการแพทย์
http://board.dserver.org/s/sukunyap/00000003.html
http://www.nextproject.net/contents/default.aspx?00100
http://www.most.go.th/main/index.php/flagship/116-nstda/1719---2550-.html


1.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ
http://www.slideshare.net/Mazda007/unit8-6055932
http://www.panteethai.com/links.asp
http://www.pantip.com/cafe/library/link/


1.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพวิศวกรรม
http:/www.softbizplus.com/computer/556-professional-computer-branches
http://www.coe.or.th/e_engineers/coeindex.php
http://www.dpu.ac.th/eng/ce/



1.8การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพด้านเกษตรกรรม
http://forum.datatan.net/index.php/topic,126.msg126.html
http://www.acr.ac.th/acr/library/link/com.htm
http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=6582&filename=index


1.9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่างๆ
http://www.most.go.th/portalweb/index.php/product/projects-along-the-royal/sxdasd/2138-project-it2.html
http://www.most.go.th/main/index.php/product/projects-along-the-royal/sxdasd/2138-project-it2.html
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=25&chap=7&page=t25-7-infodetail07.html


2. มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษาให้กับท่าน มีอะไรบ้าง บอกมาอย่างน้อย 3 อย่าง

- อินเตอน์เน็ต
- wireless
- ห้องสมุดเทคโนโลยี

3. จากข้อ 2 จงวิเคราะห์ว่าท่านจะเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาทำให้เกิดประโยนช์ต่อตนเองอย่างไรบ้าง
   - นำมาใช้ในการศึกษาหาข้อมูล
   - สืบค้นข้อมูลต่างๆเพื่อการศึกษา
   - นำมาทำให้ตนเองมีความสุข
แบบฝีึกหัด
บทที่ 3 การรู้สารสนเทศ                                                                                กลุ่มเรียนที่ 4
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน                                    รหัสวิชา 0026008
นายอลงกรณ์ ทุงจันทร์                                                       รหัสประจำตัวนิสิต 52010213138
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการรู้สารสนเทศ
ก. ความสามารถในการกลั่นกรอง และประเมินค่าสารสนเทศที่หามาได้
ข. ความสามารถในการตัดสินใจใช้สารสนเทศรูปแบบต่างๆ
ค. ความสามารถของบุคคลในการสืบค้นและพัฒนาสารสนเทศ
ง. ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง ประเมิน และใช้งานสารสนเทศ
2. จากกระบวนการของการรู้สารสนเทศ ทั้ง 5 ประการ ประการไหนสำคัญที่สุด
ก. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงต้องการสารสนเทศ
ข. ความสารถในการค้นหาสารสนเทศ
ค. ความสามารถในการประเมินผลสารสนเทศ
ง. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
ก. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ข. สามารถใช้สารสนเทศในการดำเนินชีวิต
ค. ชอบใช้คอมพิวเตอร์ในการเล่นเกม
ง. ใช้คอมพิวเตอร์ในการแสวงหาสารสนเทศได้
4. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ
1. โลกมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก โดยเน้นวัตถุนิยมมากขึ้น
2. ช่วยให้บุคคลประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต
3. สารสนเทศมีการเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็ว จนยากที่จะเข้าถึง
4. ช่วยบุคคลเป็นผู้ที่มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
5. ข้อใดเป็นการเรียงลำดับขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้สารสนเทศที่ถูกต้อง
1. ความสามารถในการประมวลสารสนเทศ
2. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
3. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ
4. ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
5. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการสารสนเทศ
ก. 1-2-3-4-5     ข. 2-4-5-3-1       ค. 5-4-1-2-3      ง. 4-3-5-1-2




แบบฝีึกหัด
บทที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                        กลุ่มเรียนที่ 4
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน                                    รหัสวิชา 0026008
นายอลงกรณ์ ทุงจันทร์                                                       รหัสประจำตัวนิสิต 52010213138

 จงตอบคำถามต่อไปนี้

1. ให้นิสิตยกตัวอย่าง อุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามหัวข้อต่อไปนี้ อย่างน้อยหัวข้อละ 3 ชนิด

    1.1 การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล
          -  แผ่นซีดี
          -  ฮาร์ดดิสท์
          -  USB ไดร์ฟ
    1.2 การแสดงผล
          -  จอภาพ คอมพิวเตอร์
          -  จอโปรเจ็กเตอร์
          -  เครื่องพิมพ์
    1.3 การประมวลผล
          -  ซอฟต์แวร์
          -  ฮาร์ดแวร์
          -  OS
    1.4 การสื่อสารและเครือข่าย
          -  อินเตอร์เน็ต
          -  การประชุมผ่านทางจอภาพ
          -  ห้องสมุดอีเล็กทรอนิกส์
 2. ให้นิสิต นำตัวเลขในช่องขวา มาเติมหน้าข้อความในช่องซ้าย ที่มีความสัมพันธ์กัน
         ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 
          - 8 (โปรแกรมระบบห้องสมุด จัดเป็ฯซอฟต์แวร์ประเภท..)

         Information Technology  
        - 3 ( เทคโนโลยีต่างๆ ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการเกี่ยวกับ   สารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ   ความถูกต้อง และความรวดเร็วในการนำไปใช้)

         คอมพิวเตอร์ในยุคประมวลผลข้อมูล 
       - 1 (ส่วนใหญ่ใช้ทำหน้าที่คำนวณ ประมวลผลข้อมูล)

         เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย  
      - 6 (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  เทคโนโลยี การสื่อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีอื่นๆที่เกี่ยวข้อง)
        
        ช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่นต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 
      - 10 (ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ)

        ซอฟต์แวร์ระบบ 
       - 7 (โปรแกรมที่ทำหน้าที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์)

        การนำเสนอบทเรียนในรูปแบบมัลติมีเดีย ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ตามระดับความสามารถ 
      - 9 (CAI)

       EDI 
      - 5 (การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย)
       การสื่อสารโทรคมนาคม 
     - 4 (มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน คือ Sender-Medium และ Decoder

       บริการชำระภาษีออนไลน์ 
      - 2 (e-Revenue)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น